แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่ม

dc.contributor.authorบุณณดา แจ่มกระจ่างภาดาen_US
dc.contributor.authorพรรณระพี สุทธิวรรณen_US
dc.contributor.authorBhunnada Chamkrachangpadaen_EN
dc.contributor.authorPanrapee Suttiwanen_EN
dc.date.accessioned2010-12-23T06:26:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:14:47Z
dc.date.available2010-12-23T06:26:19Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:14:47Z
dc.date.issued2553-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,4(ต.ค.-ธ.ค.2553) : 522-540en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3092en_US
dc.description.abstractการวิจัยเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่ม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง 10 คน และกลุ่มควบคุม 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่ม ผลการวิจัย 1) ข้อมูลค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการเข้าสังคมก่อนและหลังเข้าโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านของกลุ่มทดลองพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการเข้าสังคมหลังเข้าโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี <0.001) และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการเข้าสังคมสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี<0.001) 2) ข้อมูลค่าเฉลี่ยจำนวนครั้งของพฤติกรรมการร้องไห้ในการเข้ากลุ่มแต่ละสัปดาห์ของกลุ่มทดลองพบว่าพฤติกรรมร้องไห้ลดลงในสัปดาห์ที่ 4 มากกว่าสัปดาห์ที่1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี 0.05) แต่ไม่ได้ลดลงต่อเนื่องทุกสัปดาห์ 3)ข้อมูลค่าเฉลี่ยจำนวนครั้งของพฤติกรรมการลุกเดิน ในการเข้ากลุ่มแต่ละสัปดาห์ของกลุ่มทดลอง พบว่าพฤติกรรมการลุกเดินในสัปดาห์ที่ 4 ลดลงกว่าสัปดาห์ที่1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี 0.05) แต่ไม่ได้ลดลงต่อเนื่องทุกสัปดาห์en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectพัฒนาการเด็กen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่มen_US
dc.title.alternativeEffect of a Preparatory Program on Social and Inappropriate Group Behaviors of Children with Pervasive Developmental Disordersen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine effects of “The Preparatory Program” on social and inappropriate group behavior of children with pervasive developmental disorders (PDDs). Participants comprised 20 children with PPDs, randomized into two groups of 10 children each: one in the experimental group, and the other in the control group. The Preparatory Program was used as a research instrument, and t-test, one-way ANOVA and post-hoc methods were utilized for statistical analysis in this study. Results: 1. After participating in the Program, children in the experimental group showed a significant increase in social behavior (t(9) = 7.060, p < 0.001) and had significantly more social behavior than the ones in the control group (t(9) = 4.529, p < 0.001). 2. After participating in the Program, children in the experimental group showed a significant weekly reduction of inappropriate crying behavior and inappropriate walking behavior only between week 1 and 4 with no continuous weekly reduction.en_US
.custom.citationบุณณดา แจ่มกระจ่างภาดา, พรรณระพี สุทธิวรรณ, Bhunnada Chamkrachangpada and Panrapee Suttiwan. "ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่ม." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3092">http://hdl.handle.net/11228/3092</a>.
.custom.total_download1275
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month25
.custom.downloaded_this_year305
.custom.downloaded_fiscal_year61

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v4n4 ...
ขนาด: 278.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย