แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาตัวชี้วัดความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน

dc.contributor.authorภรวลัญ จุนทการบัณฑิตen_US
dc.date.accessioned2011-10-05T08:31:15Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:19:18Z
dc.date.available2011-10-05T08:31:15Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:19:18Z
dc.date.issued2553-02en_US
dc.identifier.otherhs1868en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3347en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน ด้วยวิธีการวิจัยและพัฒนา ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กระบวนการหาฉันทามติแบบพหุลักษณ์ และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อหาค่าความเที่ยงด้วยการคำนาณค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาชและตรวจสอบความตรงของโมเดลใช้สถิติวิเคราะห์เชิงยืนยันด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลิสเรล 8.30 ใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยนอก จำนวน 759 ราย จากโรงพยาบาลชุมชน 8 แห่ง ในจังหวัดพิษณุโลก และกำหนดเกณฑ์มาตรฐานในการวัด โดยการศึกษาค่าปกติใช้กลุ่มคนเป็นมาตรฐานและประเมินผลความเหมาะสมของคู่มือการใช้ ผลการวิจัย พบว่า เครื่องมือประเมินผลความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมชน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก TICTI จำนวน 34 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) Tangibles : T จำนวน 11 ตัวชี้วัด 2) Interaction : I จำนวน 6 ตัวชี้วัด 3) Convenience : C จำนวน 5 ตัวชี้วัด 4) Trust : T จำนวน 8 ตัวชี้วัด และ 5) Information : I จำนวน 4 ตัวชี้วัด เครื่องมือมีค่าความเที่ยง 0.77 โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างสูง ที่ค่าไค-สแควร์ 2 = 431.55, ค่าองศาอิสระ = 522, p= 0.001 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) = 0.94 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน ที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) = 0.91 ค่าดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของเศษ (RMR) = 0.02 เกณฑ์มาตรฐานคะแนนวัดความพึงพอใจแบ่งเป็น 3 ระดับ ระดับต่ำกว่าปกติใช้เกณฑ์ต่ำกว่า 102 ระดับ ปกติใช้เกณฑ์ 102 ถึง 153 และระดับสูงกว่าปกติใช้เกณฑ์มากกว่า 153 ผลการประเมินความเหมาะสมของคู่มือการใช้ตัวชี้วัดความพึงพอใจผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนอยู่ในระดับมากen_US
dc.description.sponsorshipแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ผรส.) เพื่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1450125 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกen_US
dc.rightsแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ผรส.) เพื่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.), สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectอนามัย, การบริการen_US
dc.subjectคุณภาพบริการen_US
dc.subjectตัวชี้วัดen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนen_US
dc.title.alternativeA Development of the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospitalen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospital . Applying research and development was approached. Analytical statistics were qualtitative research methodology by Multi-Attribute Consensus Reaching and quantitative research methodology for reliability by Cronbach’s Alpha-coefficient and Model Validity finding by Confirmatory Factor Analysis:CFA with LISREL 8.30. The samples were 759 cases from the Out-Patient of 8 community hospitals in Phitsanulok Province. Eestablishing the standard for the evaluation by normative and evaluating the handbook. The finding of this research were as follow ; the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospital composed of the 5 domains TICTI 34 indicators ; 1) the Tangibles : T domain composed of 11 indicators 2) Interaction : I domain composed of 6 indicators 3) the Convenience : C domain composed of 5 indicators 4) the Trust : T domain composed of 8 indicators ; and 5) the Information : I domain composed of 4 indicators. Reliability of the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospital was 0.77. Model of the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospital fit very well with the empirical data (2 =431.55 , df = 522 , p = 0.001 , GFI =0.94 and AGFI = 0.91 and root mean squared residual : RMR = 0.02). The standard for the evaluation employed in three level. The norm statistics were as < 102 scores at poor, 102 to 153 scores at fair and > 153 scores at very good. Evaluating the appropriate of the Out-Patient Service Quality Satisfaction Indicators of Community Hospital handbook was at good level .en_US
dc.identifier.callnoWX140 ภ185ร 2553en_US
.custom.citationภรวลัญ จุนทการบัณฑิต. "การพัฒนาตัวชี้วัดความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3347">http://hdl.handle.net/11228/3347</a>.
.custom.total_download222
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1868.pdf
ขนาด: 1.415Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย