• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetin

วิไล บัณฑิตานุกุล;
วันที่: 2555
บทคัดย่อ
ยาชีววัตถุมีความซับซ้อนทางโมเลกุลมาก จึงไม่สามารถใช้แนวทางการประเมินเดียวกับยาเคมีได้ แม้มีวิธีการวิเคราะห์มากมายในปัจจุบันก็อาจยังไม่เพียงพอที่จะทำนายถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพของยาชีววัตถุได้ มีรายงานการศึกษาหลายฉบับพบว่ายาชีววัตถุเหล่านี้มีผลต่อผู้ป่วยแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการเป็นสารก่อภูมิคุ้มกัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทยโดยใช้ยา epoetin เป็นกรณีศึกษา ทั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณาโดยการทบทวนวรรณกรรมและการประชุมกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าชุดเอกสารการขึ้นทะเบียนตำรับยาชีววัตถุในประเทศยังมีข้อมูลบางส่วนไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์สากล ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้ความเสี่ยงเหนือประโยชน์จากการใช้ยา การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทยจึงมีความสำคัญ ระบบในอนาคตควรมีการพัฒนาการขึ้นทะเบียนตำรับยาควบคู่กับการทบทวนทะเบียนตำรับยาให้สอดคล้องกับเกณฑ์สากลที่เป็นปัจจุบัน ทั้งแบบยาชีววัตถุใหม่และแบบยาชีววัตถุคล้ายคลึง การนำระบบ ใหม่ไปสู่การปฏิบัติจำเป็นต้องมีการพัฒนาความพร้อมทั้งด้านการบริหารและวิชาการ

บทคัดย่อ
Biological products are very complex molecules, therefore the same regulatory approach of assessing chemical drugs cannot be used. Although a variety of assays are available, they may not be adequate to reliably predict the safety and efficacy of biological products. Several studies indicated that the treatment responses of biological products are not the same especially the immune responses. This study was a descriptive study conducted by intensive literature reviews and group discussions. The result showed that the dossiers of registered biological products were partially incomplete comparing with international guidelines, which may cause the risk over benefit. Thus, researchers have proposed a future system to regulate biological products by shifting the registration and re-evaluation paradigms of biological products to be in compliance with current international guidelines on biological products and biosimilars. The implementation of this new proposed system requires the development of administrative and technical aspects.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1982.pdf
ขนาด: 1.310Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 5
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 119
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV