แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับประชากรในประเทศไทยด้วยแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์

dc.contributor.authorนัยนา ประดิษฐ์สิทธิกรen_US
dc.contributor.authorNaiyana Praditsitthikornen_US
dc.date.accessioned2014-01-22T13:33:04Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:21:13Z
dc.date.available2014-01-22T13:33:04Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:21:13Z
dc.date.issued2556-09en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,3 (ก.ค.- ก.ย. 2556) : 389-399en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3957en_US
dc.description.abstractมะเร็งปากมดลูกก่อให้เกิดความสูญเสียในสตรีไทย ภารกิจที่ท้าทายผู้บริหาร คือ การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการป้องกันและควบคุมโรค การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าของมาตรการปัจจุบัน คือ การคัดกรองสตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ทุก ๕ ปี เปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น ได้แก่ การขยายเป้าหมายให้ครอบคลุมสตรีอายุน้อยกว่า ๓๐ ปี และเพิ่มความถี่เป็นทุก ๓ และ ๑ ปี การศึกษาปรับปรุงแบบจำลอง Markov ที่พัฒนาในปี ๒๕๕๐ ต้นทุนใช้มุมมองทางสังคม โดยปรับค่าเป็นปี ๒๕๕๕ ผ่านดัชนีราคาผู้บริโภคจากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และปรับค่าอรรถประโยชน์ของมะเร็งปากมดลูกผ่านสมการของประชากรไทย การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับการไม่คัดกรอง มาตรการปัจจุบัน เมื่อดำเนินการภายใต้อัตราคัดกรองร้อยละ ๘๐ มีประสิทธิภาพสูง ช่วยลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตถึงร้อยละ ๔๐ ทางเลือกที่ดีที่สุดและควรพิจารณา หากต้องการขยายการคัดกรอง คือ เพิ่มความถี่การคัดกรองจากทุก ๕ ปีเป็นทุก ๓ ปี โดยคงกลุ่มอายุเดิมจะช่วยลดอุบัติการณ์อีกปีละ ๙๐๐ ราย และป้องกันการเสียชีวิตปีละ ๔๕๐ ราย ลดต้นทุนการรักษามะเร็งปากมดลูกได้ปีละ ๑,๒๐๐ ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่ม -๗๓,๓๐๐ บาทต่อปีสุขภาวะ แต่จำเป็นต้องพัฒนานักเซลล์วิทยาเพิ่มอีกอย่างน้อย ๑๘๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒ ของกำลังคนในปัจจุบัน การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันที่ให้สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี รับบริการคัดกรองสม่ำเสมอทุก ๕ ปี เป็นมาตรการที่คุ้มค่า เหมาะสม และปฏิบัติได้ แต่ควรควบคุมประสิทธิภาพและคุณภาพของการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายอัตราคัดกรองในประชากรที่ตั้งไว้ร้อยละ ๘๐ ส่วนการเพิ่มความถี่ในการคัดกรองเป็นทุก ๓ ปี ถึงแม้จะมีความคุ้มค่าและได้ประโยชน์เพิ่ม แต่ควรวางแผนด้านบุคลากรและระบบให้พร้อมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent451370 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectการคัดกรองโรคen_US
dc.subjectCervical Canceren_EN
dc.titleการประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับประชากรในประเทศไทยด้วยแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์en_US
dc.title.alternativeCervical Cancer Screening In Thailand: A Model-Based Economic Evaluationen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAs cervical cancer is the second most common cancer in Thai women, it is important for policy makers to effectively implement the screening program. The aim of this study was to assess the incremental cost-effectiveness of the current 5-yearly screening practice for all women aged 30-60 years, compared with the alternative options that differ in the screening interval and target age groups. The study adopted a Markov model conducted in 2007 under the Thai healthcare setting. All costs were estimated under societal perspective and converted to the year 2012 values using the Thai consumer price index. Utility score was calculated based on the Thai scoring algorithm. We found that screening cervical cancer in Thai women was cost-effective compared to no screening. The current practice showed a certain benefit of 40 percent reduction in incidence and mortality. The second most efficient strategy was a 3-yearly screening for women aged 30-60 years, with the incremental cost-effectiveness ratio -73,300 baht per quality-adjusted life year gained and the expected prevention of 900 cervical cancer cases and 450 deaths per year. Treatment cost was reduced to 1.2 billion baht per year. But more than 180 cytologists and pathologists are needed to cope with increasing demand. Strengthening the current program by increasing the number of women for screening to reach the targeted coverage rate of 80 percent is the most cost-effective and pragmatic option in Thailand.en_US
dc.subject.keywordmass screeningen_US
dc.subject.keywordมะเร็งปากมดลูกen_US
dc.subject.keywordต้นทุนอรรถประโยชน์en_US
dc.subject.keywordแบบจำลองมาร์คอฟen_US
dc.subject.keywordMarkov modelen_US
dc.subject.keywordCost-utilityen_US
.custom.citationนัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร and Naiyana Praditsitthikorn. "การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับประชากรในประเทศไทยด้วยแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3957">http://hdl.handle.net/11228/3957</a>.
.custom.total_download1380
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year102
.custom.downloaded_fiscal_year20

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v7n3 ...
ขนาด: 440.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย