การสร้างดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (Slope Index of Inequalities) ในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่เขตสุขภาพ
dc.contributor.author | สุพล ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Supon Limwattananon | en_EN |
dc.contributor.author | จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chulaporn Limwattananon | en_EN |
dc.date.accessioned | 2017-09-27T01:59:25Z | |
dc.date.available | 2017-09-27T01:59:25Z | |
dc.date.issued | 2560-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,3 (ก.ค.-ก.ย. 2560) : 427-434 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4770 | |
dc.description.abstract | สำหรับการวิเคราะห์ความไม่เสมอภาคในการใช้-ไม่ใช้บริการสุขภาพของประชากรในพื้นที่นั้น มาตรวัดที่แนะนำ คือ ดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (slope index of inequalities) ซึ่งได้จากการหาความสัมพันธ์ของความแตกต่างระหว่างพื้นที่ของสัดส่วนผู้ใช้บริการกับสัดส่วนจำนวนประชากรในพื้นที่เมื่อเรียงลำดับตามการใช้บริการจากมากไปหาน้อย ในทางปฏิบัติ ตัวแปรแบบสองทาง เช่น ใช้บริการ-ไม่ใช้ ซึ่งเป็นข้อมูลรายบุคคลจากการสำรวจตัวอย่างจะถูกเปลี่ยนเป็นข้อมูลรวมของประชากรในระดับพื้นที่ในรูปของสัดส่วน เช่น จำนวนผู้ใช้บริการต่อประชากรทั้งหมด โดยคำนึงถึงน้ำหนักการสุ่มตัวอย่าง เมื่อคำนึงถึงความไม่แน่นอนในกลุ่มตัวอย่าง ดัชนีความลาดเอียงสามารถประมาณการด้วยวิธีทางสถิติโดยใช้สมการถดถอยเชิงเส้นตรง (linear regression) ในบทความนี้ ใช้ข้อมูลในระดับพื้นที่ 12 เขตสุขภาพ โดยไม่รวมกรุงเทพมหานคร จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ดัชนีความลาดเอียงทำให้เห็นว่า สำหรับระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เขตสุขภาพมีความไม่เสมอภาคในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่ ทั้งกรณีผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีความไม่เสมอภาคน้อยกว่าของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Inequalities in health | th_TH |
dc.title | การสร้างดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (Slope Index of Inequalities) ในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่เขตสุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of Slope Index of Inequalities in the Use of Public Health Services by Population in Health Regions | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | For an analysis of an inequality in health service use across areas, a recommended measure is slope index of inequalities (SII). The SII captures area variations in users of health services as associated with total population in the areas ranked by a descending order by health service use. In practice, a binary outcome, such as use vs. no use, measured at an individual level needs to be aggregated at the area level in terms of proportion of populations who were the users. To account for uncertainty due to sampling, the SII could be estimated statistically using linear regression analysis. This paper used the data in 12 health regions, excluding Bangkok from Health and Welfare Survey in 2015, the SII revealed statistically significant inequalities in the use of health services from public facilities for both outpatients and inpatients across 12 regions. The Universal Coverage Scheme population showed a lower extent of inequalities in health service use than Civil Servant Medical Benefit Scheme. | en_EN |
dc.subject.keyword | เขตสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | ความไม่เสมอภาค | th_TH |
.custom.citation | สุพล ลิมวัฒนานนท์, Supon Limwattananon, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ and Chulaporn Limwattananon. "การสร้างดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (Slope Index of Inequalities) ในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่เขตสุขภาพ." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4770">http://hdl.handle.net/11228/4770</a>. | |
.custom.total_download | 1129 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 18 | |
.custom.downloaded_this_year | 178 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 34 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ