dc.contributor.author | วรรัตน อิ่มสงวน | th_TH |
dc.contributor.author | Worarat Imsanguan | en_EN |
dc.contributor.author | สุรีรัตน์ ท้าวถึง | th_TH |
dc.contributor.author | Sureerat Thawthong | en_EN |
dc.contributor.author | ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | Supalert Nedsuwan | en_EN |
dc.contributor.author | จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน | th_TH |
dc.contributor.author | Jintana Ngamvithayapong-Yanai | en_EN |
dc.date.accessioned | 2018-01-03T04:32:28Z | |
dc.date.available | 2018-01-03T04:32:28Z | |
dc.date.issued | 2560-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 516-528 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4814 | |
dc.description.abstract | ภูมิหลังและเหตุผล: การสำรวจผู้สัมผัสวัณโรค (contact investigation-CI) เป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยลดปัญหาวัณโรค แต่การทำ CI ยังมีความครอบคลุมต่ำ เนื่องจากปัจจัยด้านผู้ป่วย การตีตราทางสังคม รวมทั้งความรู้และทัศนคติของแพทย์และพยาบาลที่มีต่อวัณโรคและการทำ CI ระเบียบวิธีศึกษา: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ดำเนินการสนทนากลุ่มกับแพทย์และพยาบาลที่เคยป่วยเป็นวัณโรค เพื่อทราบประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับการตีตราทางสังคมและการทำ CI ในฐานะเป็นผู้ป่วย ใช้แบบสอบถามกับแพทย์ 60 คน และพยาบาล 178 คน วัดระดับความรู้เกี่ยวกับวัณโรค การตีตราและการทำ CI ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา: อัตราการตอบแบบสอบถามเท่ากับ 100% เกือบ 20% ของแพทย์และ 14% ของพยาบาล อยากหลีกเลี่ยงการทำงานกับผู้ป่วยวัณโรคเพราะกลัวติดโรค ปัจจัยที่มีผลต่อการทำ CI ของแพทย์คือ แพทย์หญิงมีการทำ CI มากกว่าแพทย์ชาย 2.07 คะแนน (95%CI 0.21, 3.92) อายุรแพทย์และกุมารแพทย์มีการทำ CI น้อยกว่าแพทย์ประจำบ้าน 3.82 คะแนน (95%CI -6.04, -1.60) และ 0.17 คะแนน (95%CI -2.51, 2.17) สำหรับพยาบาล ระยะเวลาทำงานเพิ่มขึ้น 1 ปี จะทำ CI เพิ่มขึ้น 0.09 คะแนน (95%CI 0.01, 0.17) พยาบาลที่ได้รับการอบรมเรื่องวัณโรค ทำ CI มากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการอบรม 2.52 คะแนน (95%CI 0.99, 4.05) แพทย์และพยาบาลที่ป่วยเป็นวัณโรคทุกคนมีการนำคนในบ้านมารับการตรวจวัณโรค มีส่วนน้อยที่รู้สึกรุนแรงถึงการตีตราวัณโรคในขณะที่ตนเองป่วย วิจารณ์: พยาบาลควรได้รับการอบรมเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ควรเข้มงวดเรื่องการตรวจคัดกรองวัณโรคประจำปีในกลุ่มแพทย์และพยาบาล หากแพทย์หรือพยาบาลป่วยเป็นวัณโรค ควรพิจารณาสำรวจผู้สัมผัสโรคที่เป็นผู้ร่วมงานและเป็นผู้ป่วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วัณโรค | th_TH |
dc.subject | วัณโรค--การติดเชื้อ | th_TH |
dc.subject | วัณโรค--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | Tuberculosis | th_TH |
dc.title | ความรู้ การตีตราและประสบการณ์ของแพทย์และพยาบาลเกี่ยวกับวัณโรคและการสำรวจวัณโรคในกลุ่มผู้สัมผัส | th_TH |
dc.title.alternative | Knowledge, Perceived Stigma and Experiences of Doctors and Nurses Regarding Tuberculosis and Contact Investigation | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Background: Contact investigation (CI) reduces tuberculosis (TB) burden. Yet, implementing CI is still low. One of CI Barriers is health workers’ knowledge and attitude about TB. Design/Methods: Mixed-methods. A focus group discussion with doctors and nurses who had TB was conducted. A self-administered questionnaire was distributed to 60 doctors and 178 nurses. The questionnaire measured TB knowledge, stigma and CI practice. A stepwise multiple regression analysis was employed. Results: Response rate was 100%. Almost 20% of doctors and about 14% of nurses prefer a job without exposure to TB patients. Female doctors practiced CI 2.07 scores more than male doctors (95%CI 0.21, 3.92). The internists and the pediatricians had less CI scores than the resident doctors, respectively, 3.82 scores (95%CI -6.04, -1.60) and 0.17 scores (95%CI -2.51, 2.17). For nurses, an additional one year working experience increased 0.09 CI scores (95%CI 0.01, 0.17). Nurses obtaining TB training had 2.52 CI scores more than nurses without training (95%CI 0.99, 4.05). All household contacts of doctors and nurses having TB received TB screening. But contacts at the workplace (colleagues and patients) were not systematically investigated. Conclusions: TB training may increase CI practice in nurses. Annual health check for doctors and nurses should be reinforced. When doctors and nurses have TB, their contacts in the workplaces (co-workers and patients) should receive CI. | en_EN |
.custom.citation | วรรัตน อิ่มสงวน, Worarat Imsanguan, สุรีรัตน์ ท้าวถึง, Sureerat Thawthong, ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ, Supalert Nedsuwan, จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน and Jintana Ngamvithayapong-Yanai. "ความรู้ การตีตราและประสบการณ์ของแพทย์และพยาบาลเกี่ยวกับวัณโรคและการสำรวจวัณโรคในกลุ่มผู้สัมผัส." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4814">http://hdl.handle.net/11228/4814</a>. | |
.custom.total_download | 3993 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 46 | |
.custom.downloaded_this_year | 548 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 88 | |