DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 221-240 จาก 5809
-
การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)วรรณกรรมและงานวิจัยเกี่ยวกับการกระจายอำนาจได้ส่งสัญญาณเตือนว่า การกระจายอำนาจที่ไม่ได้พิจารณาบริบทเฉพาะของแต่ละประเทศจะก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ดังนั้น การออกแบบแนวทางการกระจายอำนาจให้สอดคล้องกับบริบทความจำเป็นของแต่ ... -
การใช้ประโยชน์จากระบบสิทธิบัตรในการต่อยอดวิจัยและพัฒนายาใหม่และการขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ความเชื่อมโยงของการขึ้นทะเบียนตำรับยาและการขอรับสิทธิบัตรยา และ 2) วิเคราะห์ความละเอียดของเนื้อหาในคำขอรับสิทธิบัตรที่จะเป็นประโยชน์ในการต่อยอดการวิจัยและพัฒนายาของอุ ... -
การวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย 1) ทำความรู้จักโรคติดเชื้อพิธิโอซิส 2) อาการ อาการแสดง และประวัติทางคลินิกของโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 3) จุลชีววิทยาของเชื้อก่อโรคพิธิโอซิส 4) การยืนยันการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิส ... -
เครือข่ายวิจัยความร่วมมือในการรักษาด้วยยาเพื่อประเทศไทยใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases, NCDs) เป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประชากรไทย การรักษาในปัจจุบันผู้ป่วยส่วนใหญ่เกินครึ่งต้องกินยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ เพื่อควบคุมอาการ ... -
การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ... -
การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ... -
การพัฒนาการกำกับดูแลข้อมูลและการติดตามความปลอดภัยโครงการวิจัยคลินิกของฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วยโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)การขึ้นทะเบียนยาสมุนไพรเพื่อใช้ทางการแพทย์จำเป็นต้องมีสรรพคุณเฉพาะ (Specific Health Claim) หรือข้อบ่งใช้ (Clinical Indication) โดยมีหลักฐานผลการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีการออกแบบการวิจัยในการพิสู ... -
ระบบเครือข่ายและการวิจัยแบบสหสาขาในโรคเบาหวานชนิดที่ 1 และโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี (ปีที่ 3)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ในทุกอายุและโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปีมาแล้ว ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ... -
รายงานประจำปี 2565 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : สร้างองค์ความรู้ สู่การพัฒนาระบบสุขภาพไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีการดำเนินงานครบรอบ 30 ปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นปีที่โลกและประเทศไทยได้มีการปรับตัวเป็นอย่างมากโดยเฉพาะระบบสาธารณสุขภายหลังผลกระทบของภาวะวิกฤตโรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ... -
การวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อไวรัสซิกา เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (ปีที่ 3)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)โรคไข้ซิกาเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสที่นำโดยแมลงที่เกิดการอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ซึ่งไวรัสจะถูกส่งผ่านไปยังมนุษย์โดยผ่านการกัดของยุง ซึ่งไม่นานมานี้ไวรัสซิกาได้พบอุบัติใหม่ขึ้นในประเทศไทยและพบอีกหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศใน ... -
การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลลัพธ์ทางคลินิกในการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-30)บทนำ : การล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตตัวเลือกส่วนใหญ่สำหรับผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Kidney Disease, ESKD) ซึ่ง Automated Peritoneal Dialysis (APD) เป็นวิธีล้า ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ... -
การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี หัด หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส คอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ในประชากรจังหวัดชลบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Expanded Program on Immunization, EPI) ได้แก่ โรคไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ... -
การพัฒนาชุมชนต้นแบบด้านความร่วมมือในการใช้ยาแบบบูรณาการสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ที่มาและความสำคัญ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นกลุ่มโรคที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้การรักษาบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อสังเคราะห์อ ... -
การวิจัยและพัฒนาแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาหลายมิติสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้บริบทประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)วัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบประเมินการวัดความร่วมมือต่อยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังฉบับเบื้องต้น (20-item medication adherence questionnaire; MAQ-20) รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพเชิงจิตวิทยาของแบบประเมิน ในด้านความตรงเชิ ... -
ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : จากผลการศึกษาในการดำเนินงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ... -
ธรรมชาติของปัญหาความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยไทยที่มีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามขั้นตอนการจัดการการใช้ยาด้วยตนเอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อศึกษาปัจจัยของความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ป่วยสูงอายุ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาในสถานะผู้ป่วยนอก (2) เพื่อประเมินมูลค่าของยาเหลือใช้ซึ่งเกิดจากความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ ... -
ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง ทางเดินหายใจเรื้อรังและเบาหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ซึ่งการรักษาและการควบคุมโรค จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือใน ... -
การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ...