แสดงรายการ 581-600 จาก 5767

    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ...
    • A to Z: Bench to Bedside in Medical Mycology 

      วัชรมาศ ม่วงแก้ว; Watcharamat Muangkaew; Pronpan Khum-eam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โปสเตอร์ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเชื้อรา
    • ที่นี่ปลอดวัณโรค แน่ใจ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วันนี้ วัณโรคยังอยู่กับสังคมไทย ไทยติดอันดับประเทศที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิตกว่าหมื่นราย ประชากรโลก 1 ใน 3 เป็นผู้ติดเชื้อวัณโรคโดยไม่ปรากฏอาการ วัณโรคเป็นแล้วตายแต่สามา ...
    • โรคสมาธิสั้น : เป็นได้ เปลี่ยนได้ ถ้าปรับพฤติกรรม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      เด็กโรคสมาธิสั้น ควรได้รับการดูแลและลดสิ่งเร้า เช่น จัดสถานที่สำหรับทำการบ้าน อ่านหนังสือ โดยไม่มีสิ่งรบกวน ฝึกให้เด็กทำกิจกรรมในที่เงียบๆ หรืออยู่ในสถานที่สงบ ลดการไปเที่ยวห้างหรือสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน จำกัดการดูทีวี ...
    • พ่อแม่เข้าใจ จุดเริ่มต้นใหญ่ของการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      เด็กโรคสมาธิสั้น จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากครอบครัวอย่างเข้าใจ ดังนั้น จุดเริ่มต้นสำคัญของการแก้ปัญหานี้คือ พ่อแม่ผู้ปกครอง ที่ควรมีทัศนคติต่อเด็กสมาธิสั้นอย่างถูกต้อง เพื่อลดผลกระทบจากจุดอ่อน และช่วยเสริมการพัฒนาจุดเด่น ...
    • วิจัยความรู้สู่แนวทางป้องกัน ดูแล รักษา โรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น สามารถป้องกันและรักษาได้โดย วิธีการป้องกัน : สังเกตและคัดกรองเบื้องต้นด้วยเครื่องมือ เช่น แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) แบบคัดกรอง SNAP-IV, KUS-SI, Conners rating scale, THASS ฯลฯ วิธีการดูแล : ปรับพฤติกรรมท ...
    • ทำความรู้จักโรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของพัฒนาการ ในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมา ...
    • วิจัยสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ตรวจยีนมะเร็งเต้านม บริการการแพทย์แม่นยำเพื่อคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      โครงการวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบัน ...
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...
    • ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ...
    • ผลกระทบและการปรับตัวในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 กรณีทัณฑสถานและชุมชนในกรุงเทพมหานคร 

      นพวรรณ เปียซื่อ; Noppawan Piaseu; ธิราภรณ์ จันทร์ดา; Tiraporn Junda; วรรณา สนองเดช; Wanna Sanongdej; ผจงจิต ไกรถาวร; Phachongchit Kraithaworn; สุกัญญา ตันติประสพลาภ; Sukanya Tantiprasoplap; สุวัจนา น้อยแนม; Suwatjana Noinam; จันทรา แก้วภักดี; Jantra Keawpugdee; เสาวรส คงชีพ; Saowaros Kongcheep; สุพรรณนา ครองแถว; Suphanna Krongthaeo; รุ่งอรุณ เกศวหงส์; Rungarun Gaesawahong; วาสนา ศรีสุข; Wassana Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาเชิงคุณภาพแบบบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลกระทบและกลไกการปรับตัวของทัณฑสถานและชุมชนในกรุงเทพมหานคร ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 รวมถึงหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง 2) สังเคราะห์บทเรียนที่จำเป็นต่อการปร ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด 

      ปฤษณา เรืองรัตน์; Pritsana Raungrut; ปารมี ทองสุกใส; Paramee Thongsuksai; ณรงค์วิทย์ นาขวัญ; Narongwit Nakwan; ฑิตยา บุญส่ง; Thitaya Bunsong; ทิดารัตน์ รักเลิศ; Thidarat Ruklert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ...
    • สมุดบันทึกการจัดการตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อม โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      สมุดบันทึกการจัดการตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อม โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พัฒนาขึ้นเพื่อให้อาสาสมัครได้รับรู้ถึงข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ...
    • คู่มือการชะลอไตเสื่อม 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกปี ทั้งจำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรัง ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตและผู้ป่วยที่รอการปลูกถ่ายไต นอกจากนี้ยังต้องใช้งบประมา ...
      ป้ายกำกับ:
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา (Research & Development) ในรูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่างภาคชุมชน ...
    • การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข 

      รัตพงษ์ สอนสุภาพ; Rattaphong Sonsuphap; สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์; Sitanon Jesdapipat; อิสรีย์ ภักดิ์ศรีแพง; Itsaree Phaksipaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ...
    • การพัฒนาเครื่องมือการประเมินสมรรถนะการดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพของนักเรียนแพทย์ เภสัชกร และสัตวแพทย์ก่อนสำเร็จการศึกษาในประเทศไทย 

      Rungpetch Sakulbumrungsil; Nusaraporn Kessomboon; Inthira Kanchanaphibool; Khunjira Udomaksorn; Sitanan Poonpolsub; Wirumporn Watcharapinchai; Manthana Laichapit; Chosita Lapchaicharoenkit; Nutcha Umtade; Sujittra Khontiyachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2021-11-30)
      Antimicrobial stewardship is an essential competency for all health care professions. Antimicrobial stewardship has incorporated managerial aspects as well as knowledge, awareness, and practice of antimicrobial use and ...
    • การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพในภาวะที่มีการระบาดหรือภายหลังการระบาดของโรค COVID-19: กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา 

      ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakkarin Suwanwaha; จารุณี วาระหัส; Jarunee Warahut; อภิสิทธิ์ เชื้อคำเพ็ง; Apisit Chuakompeng; ผาณิต หลีเจริญ; Phanit Leecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 และพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 ...