Show simple item record

Using hospital quality development and accreditation process as a tool in developing health promotion in hospitals

dc.contributor.authorอำนาจ ศรีรัตนบัลล์th_TH
dc.contributor.authorAmnach Sriratanabanen_US
dc.contributor.authorสรรธวัช อัศวเรืองชัยth_TH
dc.contributor.authorกฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์th_TH
dc.contributor.authorจินดา ตั้งรวมทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorจารุวรรณ ธาดาเดชth_TH
dc.contributor.authorSantawat Asavaroengchaien_US
dc.contributor.authorKrit Pongpirulen_US
dc.contributor.authorJinda Tangraumsaben_US
dc.contributor.authorCharuwan Tadadejen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:49:30Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:19Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:49:30Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1263en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1940en_US
dc.description.abstractเป้าประสงค์ของโครงการวิจัยนี้คือความพยายามที่จะใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มาช่วยพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ (HP) ในบริบทของโรงพยาบาลให้กว้างขวางยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยที่ตั้งไว้มีสองข้อ ข้อที่หนึ่งคือ “ศึกษาการสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลที่ผ่านการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลแล้ว เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการพัฒนาคุณภาพกับการสร้างเสริมสุขภาพและปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้องรวมทั้งความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดของการสร้างเสริมสุขภาพ” และข้อที่สองคือ “สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดความกระจ่างในความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงข้างต้น เพื่อนําไปใช้ในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล” ผลการศึกษาพบว่า (1) โรงพยาบาลทุกแห่งให้บริการส่งเสริมสุขภาพตามแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพแบบดั้งเดิม และมีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ (Program-based HP) โดยยังไม่มีการนําแนวคิดเรื่องการเพิ่มพลังอํานาจมาใช้สําหรับกระบวนการ HA มีบางส่วนทับซ้อนกับ HP (2) ไม่มีโรงพยาบาลแห่งใดใช้รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วย (Cared-based HP) เป็นการยืนยันว่ายังไม่มีการใช้แนวคิดการสร่างเสริมสุขภาพตามกระบวนทัศน์ใหม่ (3) โรงพยาบาลส่วนใหญ่ยังสับสนว่า ควรจะมีบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพอย่างไร (4) กระบวนการ HA มีเครื่องมือเพื่อใช้ในการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ PDCA แต่มีการใช้จริงน้อย (5) กระบวนการ HA ได้ให้หลักการเรื่องการทํางานเป็นระบบ แต่การดําเนินการเรื่อง HP ยังอยู่ในรูปแบบกิจกรรมเป็นเรื่องๆ ที่ไม่เกี่ยวเนื่องกัน ยังไม่พบความพยายามที่จะทําให้เป็นระบบ การเรียนรู้ข้างต้นได้นํามาปรับแบบจําลอง และนําไปเผยแพร่ผ่านเครือข่ายการเรียนรู้ในโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง HA ตั้งแต่ระดับบันไดขั้นที่หนึ่งขึ้นไป เป็นการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ข้อที่สองของโครงการที่ว่า “สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดความกระจ้างในความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงข้างต้น เพื่อนําไปใช้ในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล” มีโรงพยาบาลที่เป็นเป้าหมายหลัก 11 แห่งและที่เป็นเป้าหมายรองอีก 29 แห่ง นับเป็นการดําเนินงานเพื่อการเรียนรู้วงจรใหม่ตาม Soft Systems Methodology ด้วย ได้ผลว่าโรงพยาบาลในเครือข่ายได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้เป็นอย่างดี มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นชัดเจน มากบ้างน้อยบ้างตามศักยภาพของโรงพยาบาลแต่ละแห่ง ส่วนใหญ่เห็นว่าโครงการนี้มีส่วนสําคัญที่ช่วยทําให้เข้าใจแนวคิดเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ และการเพิ่มพลังอํานาจดีขึ้น ถึงระดับนําไปใช้จริงได้มีรูปธรรมนํามาแสดงเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบของนิทรรศการโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ ที่มีการเพิ่มพลังอํานาจ และในการจัดนิทรรศการครั้งต่อมาก็มีการนําเสนอโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพที่มีทั้งการเพิ่มพลังอํานาจและมีการใช้ PDCA ซึ่งเป็นการย้ำให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างกระบวนการ HA กับ HP ซึ่งขอเสนอว่าควรเริ่มต้นด้วย Care-based HP ก่อนจะขยายเชื่อมโยงไปสู่ประเด็นอื่นๆ เพื่อความสะดวกและความสบายใจของผู้ปฏิบัติงานth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectHospital Administrationen_US
dc.subjectQuality of Serviceen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการบริหารโรงพยาบาลen_US
dc.subjectโรงพยาบาล--มาตรฐานen_US
dc.subjectโรงพยาบาล--การควบคุณภาพen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพบริการen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการพัฒนาบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeUsing hospital quality development and accreditation process as a tool in developing health promotion in hospitalsen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research project is to look into the possibility of using the hospital quality improvement and accreditation process (HA process), which has been well accepted by a large number of hospitals in the country, to help develop health promotion (HP) in hospital setting. A study was conducted with two-fold objectives: (1) To study health promotion in HA accredited hospitals, looking for the relationship between HA process and HP and other factors including concept of HP, and (2) To form a learning network of hospitals to clarify the above relationship in order to utilize it in facilitating the HP movement in hospitals. Soft Systems Methodology fits the purpose of this study. It is an action research methodology that involves developing “a learning system” (Model) to be used as a tool of inquiry, with declared world-views (the HA process, the Thai HPH standards, and the empowering core strategies from the WHO Working Group). The model was used to study 8 selected HA accredited hospitals. The findings included: (1) Traditional health promotion services and activity-based HP were evident in all hospitals. None of the hospitals used the concept of empowerment in HP. However, they realized that some parts of HA overlap with HP such as the issues of “Health of personnel” and “Environment”. Those hospitals which determined to become HPH obviously put much greater effort into program-based HP activities. (2) None of the hospitals was aware of care-based HP. However, quality development of patient cares was evident in all hospitals. Health or quality of life of patients was used as target. The process used was empowering, including self-care and self-help groups; patients, family and even community participation. These were obviously health promotion but never referred to as such. This finding should be crucial for establishing a link between HA process and HP. 3) Hospitals were confused as to their roles in health promotion. Clarification regarding care-based HP could lessen some of the problems particularly among tertiary-care hospitals. Other issues, such as the definition of “community” that includes “group of people having same characteristics or same purposes” would help hospitals realize that they are already providing HP in many areas, and could see them as their meaningful and satisfying roles. (4) PDCA, a tool provided by HA was used only in isolated CQI projects. Promotion of its use for “learning by doing” could be expected to connect HA process to HP. (5) HP activities were carried out sporadically and unrelated to one another. System thinking was another concept from HA that could be expected to help HP. A learning network was formed during the last phase of the study to include a volunteered group of 11 hospitals (main target group) and 29 associate members which were willing to join the learning process. The majority of the hospitals appreciated learning by doing within the network. The most important lessons learned were the concept of health promotion and empowerment. They became comfortable with the use of care-based HP. This subjective assessment was confirmed objectively by a large number of presentation of programs that emphasized “empowerment’, and later “empowerment and PDCA” to epitomize the connectedness between HA process and HP. It is recommended that care-based HP should be the starting point to use HA as a tool to develop HP in hospitals.en_US
dc.identifier.callnoWX153 อ686ก 2548en_US
dc.identifier.contactno46ค074en_US
dc.subject.keywordHospital Qualityen_US
dc.subject.keywordคุณภาพโรงพยาบาลen_US
.custom.citationอำนาจ ศรีรัตนบัลล์, Amnach Sriratanaban, สรรธวัช อัศวเรืองชัย, กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์, จินดา ตั้งรวมทรัพย์, จารุวรรณ ธาดาเดช, Santawat Asavaroengchai, Krit Pongpirul, Jinda Tangraumsab and Charuwan Tadadej. "การใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการพัฒนาบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1940">http://hdl.handle.net/11228/1940</a>.
.custom.total_download136
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs1263.pdf
Size: 1.481Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record