Now showing items 1-14 of 14

    • Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ฉบับที่ 2 (กันยายน 2554) : กระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปสู่สิ่งที่ดีกว่า เพื่อเราทุกคน 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Narong Sahamaethapt; Somsak Chunharas; Pongpisut Jongudomsuk; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ยุทธศาสตร์การวิจัยระบบสุขภาพ ปี พ.ศ.2554-2558 ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จะเร่งจัดการความรู้สู่ระบบ สุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน และหนึ่งในแผนงานวิจัยที่สำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวคือ การพัฒนาความ เข้มแข็งกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพของประเทศฟิลิปปินส์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; อรสา โฆวินทะ; Auengpha Singtipphun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      การกระจายอำนาจและการถ่ายโอนภารกิจด้านสุขภาพจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น ได้มีการดำเนินงานมานานในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ส่วนประเทศไทยได้ริเริ่มผลักดันการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2475 จนกระทั่งสามารถนำม ...
    • การจัดการความรู้กับการทำวิจัยในงานประจำ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การจัดการความรู้และการวิจัยจากงานประจำ กิจกรรมงานวิจัยจากงานประจำ (routine to research; R2R) สามารถใช้การจัดการความรู้ (knowledge management; KM) เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ...
    • การดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการนำมติสมัชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 1 ประเด็น 1.7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติ ...
    • การประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ระยะที่ 1 และ 2 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ในการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ (formative evaluation) โดยครอบคลุมโครงการทั้งระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ...
    • การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เป้าหมายในการขยายแนวคิด การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) ให้ขจรขจายไปทั่วทั้งระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมของการใช้ความรู้ในการพัฒนางานของคนในวงการสุขภาพ โดยให้บุคลากรแต่ละคนสามารถแก้ปัญหาไ ...
    • การศึกษาแบบเร่งด่วนในการถ่ายโอนสถานีอนามัยและโรงพยาบาลออกนอกระบบ 

      Hawkins, Loraine; Jaruayporn Srisasalux; Sutayut Osornprasop; สุทยุต โอสรประสพ; จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาประเมินผลการถ่ายโอนสถานีอนามัยจากกระทรวงสาธารณสุขไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และโรงพยาบาลออกนอกระบบในครั้งนี้ เป็นการศึกษาแบบเร่งด่วน ใช้เวลา 3 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม - 7 เมษายน 2552 วิธีการศึกษ ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; มโน มณีฉาย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Jaruayporn Srisasalux; Mano Maneechay; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ...
    • คุณค่าการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) เป็นกลไกที่เข้าไปปรับกระบวนการทำงานประจำ โดยนำงานวิจัยเข้าไปรังสรรค์คุณค่าให้แก่งานประจำ กระตุ้นให้ผู้ทำงานพัฒนางานให้ดีขึ้น ส่งผลให้มีความสุขกับการทำงานมากขึ้น ...
    • คุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้จัดการงานวิจัยมีบทบาทสำคัญต่อระบบงานวิจัย บทความนี้บรรยายรายละเอียดถึงคุณสมบัติทางวิชาการของผู้จัดการงานวิจัยที่จำเป็นต้องมี ซึ่งได้แก่ 1.ความเป็นกลาง 2.ทักษาการประเมินโครงการวิจัย 3. ความรอบรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ...
    • จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ในอดีตเคยมีการใช้มนุษย์เป็นหนูทดลองยา และวัคซีนหลายชนิด โดยไม่มีหลักประกันและความคุ้มครองสิทธิที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่นำมาศึกษา วิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข. ผู้คนในสังคมทั่วไปหรือแม้แต่ผู้ป่วยจึงกลายเป็นหนูทดลอ ...
    • ธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์; Auengpha Singtipphun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      ธรรมาภิบาลในระบบการบริหารจัดการสุขภาพ เป็นกระบวนการหรือระบบที่องค์กรหรือประชาคมใช้ดำเนินการเพื่อให้เกิดระบบบริการสุขภาพที่ดี โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม ความโปร่งใส การสนองตอบความต้องการ ...
    • ประสบการณ์การกระจายอำนาจด้านบริการสาธารณสุขในรูปแบบการถ่ายโอนสถานีอนามัย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; รำไพ แก้ววิเชียร; Rampai Kaewvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การกระจายอำนาจการให้บริการสาธารณสุข เป็นนโยบายและวาระสำคัญของชาติ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 โดยหลักการ คือ งานบริหารราชการส่วนกลาง โดย กระทรวงสาธารณสุขต้องกระจายอำนาจงานบริการด้านสาธารณสุขและทรัพย ...
    • ผู้จัดการงานวิจัย : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; ตรึงตา พูลผลอำนวย; Jaruayporn Srisasalux; Trungta Poolponamnuay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การจัดการงานวิจัยเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญต่อการลงทุนด้านการวิจัย วัตถุประสงค์หลักของการจัดการงานวิจัยคือ เพื่อผลักดันให้เกิดงานวิจัยที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง บทความนี้นำเสนอมุมมองต่อการจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพจากประสบก ...