แสดงรายการ 921-940 จาก 1352

    • แนวทางและกลไกสนับสนุนการวิจัย 

      อภิรัต อรุณินท์; Aphirat Arunin (2537)
      บทความนี้นำเสนอให้เห็นว่าเหตุใดประเทศไทยจึงไม่สามารถใช้การวิจัยให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ มีความจำเป็นที่จะต้องเร่งสนับสนุนอย่างครบวงจรตั้งแต่การสร้างนักวิจัย ไปจนถึงการใช้ผลงานวิจัย โดยความร่วมมือของทุกฝ่าย ...
    • รายงานพัฒนาการโลก พ.ศ.2536: การลงทุนด้านสาธารณสุข (2) 

      หทัย ชิตานนท์ (2537)
      ธนาคารโลกซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโลกได้ศึกษาและจัดทำรายงานนี้ขึ้น กล่าวกันว่ารายงานนี้มีประโยชน์อย่างมากต่อการใช้เป็นข้อมูลและแนวทางประกอบการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ ...
    • การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการพัฒนา 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2536)
      การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข เน้นที่การศึกษาเพื่อเอาข้อมูลความรู้มาแก้ปัญหาและการแก้ปัญหานั้นต้องการผู้เกี่ยวข้องมากมาย ไม่ใช่บทบาทของนักวิชาการแต่เพียงฝ่ายเดียว และยังอาจรวมถึงชาวบ้านหรือกลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการปรับ ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจระดับพื้นที่ (2) : จังหวัดสมุทรปราการ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      ฉบับนี้เสนอบทสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในโครงการวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นจังหวัดแรกที่ทำโครงการนี้ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • ความเสมอภาคในระบบบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      แนวความคิดเรื่องความเสมอภาคตามหลักเศรษฐศาสตร์ มี 3 หลักการ และแนวทางในการพิจารณาต่างๆ กัน ไม่ได้มีความหมายหนึ่งเดียวที่เป็นสากล ระบบบริการสุขภาพแต่ละประเทศต้องตัดสินใจถึงจุดประสงค์ของความเสมอภาคของตนเอง ที่สำคัญคือ ...
    • มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ...
    • การแปรสภาพโรงพยาบาลของรัฐให้เป็นเอกชน: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (2537)
      การจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนา หรือปฏิรูปขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไป บทวิเคราะห์เชิงนโยบายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถูกทิศทางสำหรับอนาคตต่อไป
    • การวิจัยประเมินผลโครงการกระจายอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ตามพระราชบัญญัติอาหาร ยา ยาเสพติดให้โทษ เครื่องมือแพทย์ และพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย) 

      สุจริต ศรีประพันธ์; อำพล จินดาวัฒนะ (2537)
      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้ทำการประเมินผลการกระจายอำนาจให้กับจังหวัดและอำเภอตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลครั้งนี้เป็นการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการในช่วงปี พ.ศ. 2537 ...
    • แหล่งกระจายยาและสถานการณ์ยาในชนบท 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่องสถานการณ์ยาและกองทุนยาในชนบทของศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ The Royal Tropical Institute ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก ...
    • ระบบยาของประเทศไทย บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา 

      มรกต กรเกษม; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; นิตยา แย้มพยัคฆ์ (2537)
      ระบบยาเป็นระบบย่อยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุข การวิเคราะห์ระบบยาอย่างรอบด้านโดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยชิ้นนี้ ได้ให้ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบยาและระบบสาธารณสุขของไทยในอนาคตเป็นอย่างมาก ...
    • รายงานพัฒนาการโลก พ.ศ.2536: การลงทุนด้านสาธารณสุข (1) 

      หทัย ชิตานนท์; Hathai Chitanon (2537)
      ธนาคารโลกซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโลกได้ศึกษาและจัดทำรายงานนี้ขึ้น กล่าวกันว่ารายงานนี้มีประโยชน์อย่างมากต่อการใช้เป็นข้อมูลและแนวทางประกอบการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ ...
    • Reinventing the Business of Government: an interview with change catalyst David Osborne 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul (2537)
      บทความนี้ สรุปบทความจาก Harvard Business Review May-June 1994 : 133-143 กรปรับเปลี่ยนหน่วยงานของรัฐซึ่งไร้ประสิทธิภาพไปสู่องค์กรซึ่งไม่หยุดนิ่งและตอบสนองต่อลูกค้าเป็นงานที่ท้าทายรัฐบาลกลางอเมริกากำลังเผชิญกับปัญหาที่ยิ่ง ...
    • ศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลรักษาสุขภาพ 

      ยิ่งยง เทาประเสริฐ; ธารา อ่อนชมจันทร์ (2537)
      การวิจัยเชิงสังคมศาสตร์เรื่องนี้ เป็นการศึกษาศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลรักษาสุขภาพของชาวบ้าน โดยได้แยกศึกษาเป็น 2 กรณี คือ การรักษากระดูกหักของหมอเมืองและการดูแลครรภ์ของชาวอาข่า ในจังหวัดเชียงราย การศึกษานี้ม ...
    • บุหรี่-มะเร็งปอด การสูญเสียสุขภาพ-ชีวิต และการสูญเสียเศรษฐกิจ 

      ธีระ ลิ่มศิลา; Teera Limsila (2537)
      แม้ว่าประเทศไทยจะประสบความสำเร็จอย่างสูงในเรื่องการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ แต่ประเทศไทยก็ยังมีผู้สูบบุหรี่กว่า 10 ล้านคน และยังมีผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 5 แสนคน บทความนี้เป็นการทบทวนและวิเคราะห์างวิชาการ ...
    • การวิจัยสาธารณสุขคืออะไรกันแน่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2536)
      จากทฤษฎีมาสู่บทความเจาะลึก แยกแยะความแตกต่างระหว่างการวิจัยระบบสาธารณสุข การวิจัยอื่น กระบวนการและระเบียบวิธีการวิจัย ในการวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นของ "การวิจัยระบบสาธารณสุข"
    • ภาพลักษณ์ของสถานีอนามัยในสองทศวรรษหน้าและกลยุทธ์ในการพัฒนา 

      อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร; อำพล จินดาวัฒนะ; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; สุทธิสิทธิ์ ไมตรีจิตร์; นาฏวิมล พรหมชนะ (2539)
      ครึ่งทศวรรษแรกของ "โครงสร้างทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย" ได้รับการประเมินผลการบรรลุความสำเร็จ และกำหนดภาพลักษณ์ของสถานีอนามัยในสองทศวรรษข้างหน้า พร้อมข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์สำหรับการพัฒนาสถานีอนามัยไปสู่ภาพลักษณ์นั้น
    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสหราชอาณาจักร สวีเดน และเนเธอร์แลนด์ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (2537)
      เมื่อวันที่ 24 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงและนักวิชาการ จำนวน 33 คน ได้ไปศึกษาดูงานการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของ 3 ประเทศในทวีปยุโรป ผู้เขียนซึ่งเป็นหนึ่งใน ...
    • เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข-กลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาสาธารณสุข 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (2537)
      เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งสำหรับพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขก็เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการพัฒนาสาธารณสุข ผู้เขียนปูพื้นเรื่องนี้อย่างง่ายๆ โดยอาศัยข้อมูลจริงมาประกอบ แม้ว่าได้เขียนไว้นานพอสมควรแล้ว ...
    • การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบสาธารณสุข 

      ดำรงค์ บุญยืน; Damrong Boonyoen (2537)
      ปัจจุบันกระแสความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกานุวัตรเชี่ยวกรากมาก ระบบสาธารณสุขทั่วโลกก็ถูกกระทบรุนแรงตามไปด้วย ผู้เขียนได้นำเสนอปัญหาและประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสาธารณสุขในเชิงแนวคิด และกลวิธีสำคัญบางประการ ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      เป็นความพยายามของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขที่จะส่งเสริมให้ผู้บริหารงานสาธารณสุขในพื้นที่ ได้ใช้งานวิจัยระบบสาธารณสุขเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สถาบันฯ ได้ให้การสนับสนุนโครง ...