Now showing items 661-680 of 1352

    • การคงอยู่ในชนบทและในราชการของแพทย์ภายหลังการเพิ่มค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานที่ชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ภายหลังการเพิ่มเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายในปี 2552 เก็บข้อมูลทุติยภูมิจากกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้ทราบรูปแบบการเคลื่อนย้ายของแพทย์ในระหว่างปี 2544-2554 ...
    • การคงอยู่ในชนบทของบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; ลลิตยา กองคำ; วรางคณา วรราช; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Lalitthaya Kongkam; Warangkhana Worarat; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้เพื่อวิเคราะห์การคงอยู่ในชนบทของแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท (Collaborative Project to Increase Rural Doctors: CPIRD) โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2554 ...
    • การตอบสนองผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพและสถานบริการที่แตกต่างกัน 

      อังสุมาลี ผลภาค; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; วิชัย เอกพลากร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; รัชนี สรรเสริญ; Aungsumalee Pholpark; Yongyuth Pongsupap; Wichai Aekplakorn; Samrit Srithamrongsawat; Rachanee Sunsern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระบุว่า ระบบสุขภาพจะต้องส่งเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในสังคม แนวคิดนี้นำไปสู่ความพยายามที่จะวัดปฏิสัมพันธ์ที่เกิ ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...
    • การกำหนดราคาเบิกจ่ายของยาและผลกระทบต่องบประมาณโรงพยาบาลภาครัฐในปีงบประมาณ 2553 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; Petcharat Pongcharoensuk; Angkana Saengnapakas; Oraluck Pattanaprateep (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ค่าใช้จ่ายสำหรับสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การกำหนดราคาอ้างอิง (หรือเพดานเบิกจ่าย) ของยาเป็นกลไกที่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอราคาอ้างอิงของยาที่มี ...
    • วิธีการกำหนดราคายาสำหรับการจ่ายเงินคืน 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; วรรณสุดา งามอรุณ; สัญชัย จันทร์โต; Cha-oncin Sooksriwong; Wansuda Ngam-Aroon; Sunchai Janto (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      มาตรการกำหนดราคาซึ่งมีประสิทธิภาพหลายวิธี ที่รัฐบาลไทยควรเลือกใช้เพื่อแก้ปัญหางบประมาณที่จ่ายในการคืนเงินค่ายา การวิจัยนี้ต้องการเปรียบเทียบมูลค่าการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลเมื่อใช้มาตรการต่างๆในการกำหนดราคาคืนเงินค่ายา ...
    • คุณภาพการสั่งใช้ยาผู้ป่วยนอก: ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล 18 แฟ้มมาตรฐานของโรงพยาบาล 

      อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; รัชตะ อุลมาน; วราภรณ์ สายสุนันทรารมย์; สมชาย สุริยะไกร; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Areewan Cheawchanwattana; Onanong Waleekhachonloet; Thananan Rattanachotphanit; Pimprapa Kitwitee; Ratchata Unlamarn; Waraporn Saisunantararom; Somchai Suriyakrai; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จะช่วยให้เกิดสมดุลทางการเงินการคลังด้านสุขภาพ ในปัจจุบันโรงพยาบาลบันทึกข้อมูลการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐาน การวิเคราะห์เพื่อประเมินคุณภาพการสั่งใช้ยายังมีอยู่จำกัด ...
    • การทบทวนระบบควบคุมราคายาในประเทศไทย 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; พรพิศ ศิลขวุธท์; ธนภร ชัยจิต; ขวัญสุดา ชาติโสม; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; On-anong Waleekhachonloet; Thananan Rattanachotphanit; Pornpit Silkavute; Thanaporn Chaijit; Kwansuda Chadsom; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      รายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาสถานการณ์ระบบราคายาในประเทศไทย วิธีการศึกษาที่ใช้คือการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโดยตรงในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเอกสารและทบทวนวรรณกรรม ...
    • ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง 14 ประเทศ 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย; วิศรี วายุรกุล; จรรยา ภัทรอาชาชัย; Surasak Buranatrevedh; Viwat Puttawanchai; Wisree Wayurakul; Junya Pattaraarchachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      จากการที่มีการขยายตัวของชุมชนเขตเมืองเพิ่มขึ้น ทำให้ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองมีความสำคัญมากขึ้น การศึกษารูปแบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองในประเทศต่างๆจะช่วยให้ได้เรียนรู้รูปแบบที่ดีและนำมาปรับใช้กับระบบบริการของประเทศต่อไปได้ ...
    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • ผลของการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ 

      ดุษฎี อารยะวงศ์ชัย; ธีรพล เกาะเทียน; มนชยา ศิริอังคาวุธ; สุภาพร พรมสุพรรณ; Dusadee Arayawongchai; Teerapon Kaothean; Monchaya Siriangkhawut; Supaporn Promsupan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      โรคลิ้นหัวใจเป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลรักษาและมีอัตราตายสูง รวมทั้งการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาวาร์ฟาริน(Warfarin) จนต้องกลับเข้ารับการรักษาใหม่ ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ...
    • การปฏิบัติตามแนวจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโครงการวิจัย 

      สาวิตรี เทียนชัย; Savitree Teanchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อติดตามการปฏิบัติตามโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติไปแล้ว ของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ของสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ ...
    • การเฝ้าระวังการเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศหนาวในประเทศไทย เดือนตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554 

      แสงโฉม ศิริพานิช; พรรณนภา เหมือนผึ้ง; อนงค์ แสงจันทร์ทิพย์; Sangchom Siripanich; Pannapa Meaunphueng; Anong Sangchantip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สภาพอากาศที่หนาวเย็น เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตสูงขึ้น การสัมผัสกับอากาศหนาวเย็น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ และเป็นผลต่อระบบสมองและหัวใจ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง( ...
    • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องระหว่างร้านยาคุณภาพ และศูนย์แพทย์ชุมชน จังหวัดมหาสารคาม 

      พยอม สุขเอนกนันท์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; บุษบา โทวรรณา; รัตนา เสนาหนอก; พีรยา สมสะอาด; อุกฤษฎ์ สนหอม; อภิสรา คำวัฒน์; Phayom Sookaneknun; Thananan Rattanachotpanit; Bussaba Thowanna; Rattana Senanok; Peeraya Somsaard; Ukrit Sonhorm; Apisara Kamwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      บทบาทร้านยาที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเป็นระบบเชื่อมต่อกับหน่วยบริการของรัฐยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต ...
    • 5 ปีของการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาล: การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข ปี 2550-2554 

      เยาวมาลย์ เสือแสงทอง; รำไพ แก้ววิเชียร; Yaovaman Suasangtong; Rampai Kaewvichien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่วง 5 ปีของการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาล เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ในการประมวลและสังเคราะ ...
    • การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ผลลัพธ์ของการปรับเพิ่มค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการปฏิบัติงานของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; โกเมศ วิชชาวุธ; จารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ; สุริยา รักเจริญ; Sunee Wongkongkathep; Komet Wichawut; Jaruwat Busarakamruha; Suriya Rakcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์และผลกระทบของการปรับเพิ่มค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อ 1) การเพิ่มการกระจายและคงอยู่ของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 2) ฐานะทางการเงินของรพช.และ 3) การเพิ่มผลผลิตในการปฏิบัติ ...
    • จะดึงดูดแพทย์จบใหม่ไปทำงานที่ชนบทได้อย่างไร: การใช้เครื่องมือทดลองการตัดสินใจเลือกงาน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ฑิณกร โนรี; สัญญา ศรีรัตนะ; อภิชาติ จันทนิสร์; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Tinnakorn Noree; Sanya Sriratana; Apichart Chantanitr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในชนบทนั้นต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แม้ปัจจุบันมีแพทย์เข้าไปทำงานในชนบททุกปี แต่อัตราแพทย์ลาออกจากชนบทมีประมาณ 11% จึงจำเป็นที่จะต้องมีการค้นหาวิธีที่จะดึงดูดและธำรงรักษาแพทย์ในพื้นที่ชนบท ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...