Browsing Research Reports by Subject "ระบบบริการสาธารณสุข"
Now showing items 1-20 of 176
-
กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ... -
การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมของระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นที่รับถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่กรณีศึกษา โดยตัวแบบนั้นต้องครอบคลุม ... -
การจัดการความรู้การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04) -
การจัดระบบการรับภารกิจการกระจายอำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบบริการสาธารณสุขของเทศบาลตำบลปากแพรก ทุ่งสง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)งานวิจัยนี้ศึกษาในเชิงคุณภาพโดยการประชาพิจารณ์กลุ่ม (Group Think) เพื่อระดมความคิดเห็นจากกลุ่มต่างๆ จำนวน 6 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 1,350 คน ประกอบด้วย ครั้งที่ 1 ผู้เกี่ยวข้องกับการให้บริการสาธารณสุข อ.ทุ่งสง จำนวน 100 คน ... -
การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ... -
การจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนงานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพระดับชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-08-30)ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพในระดับประเทศ งานวิจัยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโครงการย่อยเฉพาะด้าน หรือเฉพาะประเด็น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามความต้องการของนักวิจัย หรือแหล่งทุนสนับสนุน ... -
การถอดบทเรียนการดำเนินนโยบายคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน ใน 4 จังหวัดของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)นโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน หรือนโยบายสามหมอ เริ่มในปี พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเป้าให้คนไทยมีหมอดูแลสุขภาพประจำครอบครัวตั้งแต่ในหมู่บ้าน สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลชุมชนใน ... -
การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ... -
การทบทวนกรอบความร่วมมือด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศเพื่อการจัดการด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มแรงงานต่างด้าวและประชากรข้ามชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเอกสาร (Documentary research) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทบทวนเนื้อหาสาระของเอกสารกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศในระดับโลก ระดับภูมิภาคและระดับอนุภูมิภาคที่มีประเด็นและแนวคิดเกี่ยวกับกา ... -
การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องการนำยาเก่าและการรักษามุ่งเป้าที่ยีนก่อโรคเพื่อการรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาท
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)ภาวะกล้ามเนื้อร่วมประสาท (neuromuscular diseases: NMD) เป็นภาวะที่เป็นเรื้อรังชนิดไม่ติดต่อ (non-communicable disorders) ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโรคหายาก การรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาทหลักๆ ... -
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ... -
การประยุกต์ใช้วิธีการพัฒนาคุณภาพโดยความร่วมมือในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)โครงการนี้เป็นโครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ที่เหมาะสมกับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการปฏิบัติงานขอ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านทางสายสวน ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)วัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และภาระด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติก ผ่านทางสายสวนเปรียบเทียบกับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง วิธีการศึกษา ใช้แบบจำลองแ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเพศหญิง ในประเทศไทยมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์การเกิดมากที่สุดในเพศหญิง ส่วนโรคมะเร็งรังไข่พบได้เป็นอันดับ 6 โรคมะเร็งส่วนหนึ่งที่เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ... -
การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเทคโนโลยี Tandem Mass Spectrometry (MS/MS)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกเป็นโรคหายากซึ่งประกอบด้วยโรคหลายร้อยชนิด อาการและอาการแสดงของโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกสามารถเลียนแบบโรคในเด็กได้เกือบทุกโรค ซึ่งอาการแสดงอาจคล้ายโรคติดเชื้อ เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ชัก หอบ เป็นต้น ... -
การประเมินต้นทุนของโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08-31)ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลส่งผลต่อคุณภาพและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้านขายยาเป็นหนึ่งในสถานบริการสาธารณสุขที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพที่กระจายและคลอบคลุมพื้นที่มากกว่าสถานบริการหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ ปัจจุบันการประกอบวิชาช ...