Now showing items 1101-1120 of 1352

    • การปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrungsi; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitoon Lohsuntorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ปัจจุบันมีหลักฐานเพิ่มขึ้นจากการศึกษาควบคุมแบบสุ่ม ที่แสดงว่าโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวานในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง อย่างไรก็ตาม โปรแกรมปรับพฤติกรรมนี้จะมีประโยชน์จริงในเวชปฏิบัติประจำ ...
    • การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแก๊สเรดอนกับมะเร็งปอด การสำรวจที่จังหวัดเชียงใหม่ 

      สมบัติ บุญญประภา; Sombat Boonyaprapa; ไพทูรย์ วรรณพงษ์; Paitoon Wanapongse; อรรถพล ชีพสัตยากร; Atttapon Cheepsattayakorn; ศรีสุดา แซ่อึ้ง; Sriduda Saeung; บรรทม โสลา; Boontham Sola; สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      รายงานนี้เสนอส่วนหนึ่งของผลงานในโครงการการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสแก๊สเรดอนในอาคารที่อยู่อาศัยกับมะเร็งปอด ในพื้นที่สำรวจ 3 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม่ สงขลา และขอนแก่น โดยการวัดระดับแก๊สเรดอนในบ้านที่อยู่อาศัยประจำ ...
    • การประเมินสมรรถนะบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 

      รัฐวุฒิ สุขมี; Rathavuth Sukme (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ กับความคาดหวังขององค์กร และหาส่วนต่างของสมรรถนะของบุคลากรที่ต้องพัฒนา ตลอดจนเปรียบเทียบผลการประเมินโดยตนเอง ...
    • ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; Manvipa Indradat; อาจยุทธ เนติธนากูล; Ardyuth Natithanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพให้สมดุล และยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • การตรวจสุขภาพประชาชนภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี 

      ประจักษ์ ทองงาม; Prachak Thong-ngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาผลการตรวจสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยในเขตพื้นที่อำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 24,717 คน ดำเนินการศึกษาโดยการซักประวัติการเจ็บป่วย และพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่ของศิษย์เก่าแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในโรงพยาบาลชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      พิศาล ไม้เรียง; Phisal Maireang; อนงค์ศรี งอสอน; Anongsri Ngoson; อภิดา รุณวาทย์; Apida Runvat; บุศยศรี ศรีบุศยกุล; Bussayasri Sribussayakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุผลและแรงจูงใจในการเลือกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่อยู่ในชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของศิษย์เก่า ภายหลังจากหมดสัญญาชดใช้ทุน ประชากรศิษย์เก่าที่ศึกษาเป็นแพทยศาสตรบัณฑิต รุ่นที่ 1-26 จำนวน ...
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...
    • ค่าใช้จ่ายงานวิจัยสุขภาพ กรณีสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      กิตตินันท์ อนรรฆมณี; Kittinan Anakamanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาแหล่งเงินวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 2. ศึกษาวิธีการจัดสรรเงินของสวรส. และ 3. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของงานที่เกิดจากเงินสนับสนุนการวิจัยของสวรส. การศึกษาทำโดยรวบรวมข้อมูลจากเอ ...
    • พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกรุงเทพมหานคร: การศึกษาชุมชนเมืองบางคอแหลม 

      สมนึก กุลสถิตพร; Somnuke Gulsatitporn; ดารวัลย์ ศรีธัญรัตน์; Darawan Sritanyarat; วัลลา ตันตโยทัย; Valla Tantayotai; สิริเนตร กฤติยาวงศ์; Sirinate Krittiyawong; ยุพา ไพรงามเนตร; Yupa Praingamnetr; วินัย ดะห์ลัน; Winai Dahlan; เทพ หิมะทองคำ; Thep Himathongkam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      พฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่อาศัยอยู่ในชุ ...
    • การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทยจากมุมมองของผู้ให้บริการ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; Barbara Starfield (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บริการปฐมภูมิเป็นกิจกรรมสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย การศึกษานี้จึงดำเนินขึ้นเพื่อประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทย จากมุมมองของผู้ให้บริการในพื้นที่ ...
    • การสร้างขีดความสามารถสำหรับการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อดุลย์ โมฮารา; Adun Mohara; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ลัดดา ดำริการเลิศ; Ladda Damrikarnlerd; สุวรรณี ละออปักษิณ; Suwannee Laoopugsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การสร้างขีดความสามารถของการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพนั้นมีความสำคัญในการสนับสนุนให้เกิดศักยภาพที่จำเป็นสำหรับการบรรลุเป้าหมายทางด้านสุขภาพที่ตั้งไว้ ปัจจุบันการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพส่วนหนึ่งประสบกับปัญหาอันเนื่องมาจากผ ...
    • การวัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพ จากผลกระทบต่อความยากจน 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Attakrit Leckcivilize (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      งานวิจัยเกี่ยวกับภาวะวิกฤตทางการเงินด้านสุขภาพหลายชิ้นในระยะหลังใช้สัดส่วนรายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายรับหรือรายจ่ายรวมของครัวเรือนเป็นตัวชี้วัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพของครัวเรือนซึ่งบางครั้งได้ผลลัพธ์ที่ขัดกับสามัญสำนึก ...
    • การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายของผู้มีส่วนได้เสียจากการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; โชติรส ละอองบัว; Chotiros Laongbua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เมื่อ พ.ศ. 2549 และ 2550 รัฐบาลไทยประกาศใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาด้านเอชไอวีและยาสลายลิ่มเลือดรวม 3 รายการ. นโยบายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ป่วยที่รับการรักษาพยาบาลในภาครัฐเข้าถึงยามากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรการยืดหย ...
    • สมุฎฐานความก้าวร้าวของมนุษย์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บทความนี้แปลและเรียบเรียงจากบทที่ 16 "The Etiology of Human Aggression" ในหนังสือ Art as Therapy: Collected Papers ของ Edith Kramer หน้า 218-222 พิมพ์โดย Athenacum Press, Gateshead, Tyne and Wear, Great Brtain ใน พ.ศ. 2543 ...
    • จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ในอดีตเคยมีการใช้มนุษย์เป็นหนูทดลองยา และวัคซีนหลายชนิด โดยไม่มีหลักประกันและความคุ้มครองสิทธิที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่นำมาศึกษา วิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข. ผู้คนในสังคมทั่วไปหรือแม้แต่ผู้ป่วยจึงกลายเป็นหนูทดลอ ...
    • ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญคือ โครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ...
    • การทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์คือ คณะกรรมการการศึกษาวิจัยในคนในหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข โดยการทบทวนเอกสาร ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันส่วนราชการต่างๆ ...
    • สถานการณ์และประเด็นสุขภาพแรงงานอีสาน 

      ดุษฎี อายุวัฒน์; Dusadee Ayuwat; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภูมิภาคที่มีการย้ายถิ่นแรงงานมาก จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ สังคม ตลอดจนมีผลกระทบต่อสุขภาวะทั้งปัจเจกบุคคล ครัวเรือน และชุมชน บทความนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอสถานการณ์ ...
    • ระบบและกลไก : การเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข 

      กานต์ สุวรรณสาครกุล; Garn Suwansakornkul; อนุพงษ์ วิเลปนานนท์; Anupong Wilepananont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      แนวคิดเรื่องความเห็นที่สอง เป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทำให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการ ยิ่งไปกว่านั้น การนำแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทย ...